บทความ

พระอภัยมณี ตอน สุดสาคร

รูปภาพ
              พระอภัยมณีเป็นนิทานคำกลอน ที่พระศรีสุนทรโวหาร (ภู่) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า สุนทรภู่ เป็นผู้แต่งมีเนื้อเรื่องสนุกสนาน กลอนไพเราะและสอดแทรกคุณธรรมที่เป็นคติสอนใจ  เนื้อเรื่องโดยย่อ               ท้าวสุทัศน์เจ้าเมืองรัตนาและนางประทุมเกสรพระมเหสี มีโอรสสององค์ชื่อ พระอภัยมณีและศรีสุวรรณ เมื่อโอรสทั้งสองเจริญเติบโตได้ลาพระบิดา และพระมารดาไปเรียนวิชาเพื่อปกครองบ้านเมืองพระอภัยมณีเลือกเรียนวิชาเป่าปี่ ศรีสุวรรณเลือกเรียนวิชากระบี่กระบอง               เมื่อโอรสทั้งสองเรียนวิชาจบก็กลับบ้านเมือง ท้าวสุทัศน์โกรธมากที่โอรสเรียนวิชาที่ไม่เกี่ยวกับการปกครองบ้านเมือง จึงตำหนิต่อหน้าเสนาอำมาตย์ พระอภัยมณีและศรีสุวรรณรู้สึกอับอายจึงพากันออกจากบ้านเมือง ระหว่างทางได้พบกับพราหมณ์สามคนชื่อวิเชียร โมรา และ สานนท์ ทุกคนได้แสดงวิชาที่ตนเรียนมา พระอภัยมณีได้เป่าปี่ให้ฟัง พราหมณ์ทั้งสามและศรีสุวรรณ ได้ฟังเพลงปี่ก็หลับไป      ...

มาตราตัวสะกด

รูปภาพ
             มาตรา   คือ แม่บทแจกลูกอักษรตามหมวดคำที่มีตัวสะกดหรือออกเสียงอย่างเดียวกัน   แบ่งออกเป็น  9  มาตรา หรือ  9  แม่              ตัวสะกด   หมายถึง พยัญชนะที่ทำหน้าที่บังคับเสียงท้ายคำให้มีเสียงและคำตามความต้องการในภาษาไทยแบ่งตัวสะกดออกเป็น  2  ประเภท คือ มาตราตัวสะกดในภาษาไทยมี    ๙    มาตรา    แต่มี ๑ มาตราที่ไม่มีตัวสะกด    คือ    มาตราแม่    ก    กา    ซึ่งนับรวมเป็นมาตราตัวสะกดด้วย ๑.       มาตรา    แม่    ก    กา    คือ    คำที่ไม่มีตัวสะกด    เช่น    ไป    มา    กลัว    เสือ    เพลีย ๒.      มาตรา    แม่กก    คือ    คำที่มี    ก...

วรรณคดี:เงาะป่า

รูปภาพ
              เงาะป่า หรือคนป่าซาไก เป็นคนป่าผิวสีดำ อาศัยอยู่ในป่าทึบบนภูเขาทางภาคใต้ของประเทศไทย ตลอดลงไปถึงประเทศมาเลเซีย บทละครเรื่อง เงาะป่า เป็นบทพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ได้ทรงรับ คนัง เด็กชายชาวเงาะป่าซาไกคนหนึ่งมาเป็นมหาดเล็กในพระองค์ทรงศึกษาภาษาเงาะจากคนัง แล้วทรงนำมาโยงกับเรื่องที่มีชาวบ้านเล่าถวาย ผูกเป็นโครงเรื่อง   เงาะป่า ขึ้นมา โดยทรงกำหนดให้คนังเป็นตัวละครหนึ่งในเรื่อง ตอน คนังและไม่ไผ่ไปเที่ยวป่า   

มารยาทในการฟํง ดู และพูด

รูปภาพ
              มารยาท คือ พฤติกรรมที่แสดงออก เป็นระเบียบแบบแผน การประพฤติที่ดีงาม แสดงถึงความสุภาพเรียบร้อย 1.มารยาทการฟัง - การฟังในที่ประชุม ควรเข้าไปนั่งก่อนผู้พูดเริ่มพูด - ฟังด้วยความตั้งใจ มีสมาธิในการฟัง - ตาควรมองที่ผู้พูด - ไม่พูดคุยกับคนข้างๆ หรือส่งเสียงดัง - ปิดเสียงเครื่องมือสื่อสาร ฯลฯ 2.มารยาทในการดู - ตั้งใจดู มีสมาธิในการดู - ไม่ส่งเสียงดังรบกวนผู้อื่น - นั่งหรือยืนดูในท่าทางที่สุภาพเรียบร้อย - ไม่ลุกเดินไปมา ฯลฯ 3.มารยาทในการพูด - การพูดต่อหน้าคนจำนวนมาก ควรมาถึงสถานที่พูดให้ตรงเวลาหรือมาก่อนเวลา - พูดจาสุภาพไพเราะ - พูดให้ชัดเจน ได้ยินอย่างทั่วถึง - ใช้น้ำเสียงให้เหมาะสมกับเรื่องที่พูด ฯล